สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ, อ.ดร.

อีเมล This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it., This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

 

การศึกษา

  • อ.ด. (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.บ. เกียรตินิยมอันดับสอง (ประวัติศาสตร์) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 

ความเชี่ยวชาญ

  • ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่

 

ผลงาน

 หนังสือ

  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. ผัวเดียวเมียเดียว: อาณานิคมครอบครัวในสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2561.

 ตำราและเอกสารประกอบการสอน

  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “สังคมและวัฒนธรรมไทย พ.ศ. 2398–2500.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ประวัติศาสตร์ไทย 10201 หน่วยที่ 8-15 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4). น. 13-1–13-62. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2567.

 บทความ

  • Surajeshth Sukhlabhkich and Wasana Wongsurawat. “The King as Father: Contesting Absolutism and its Gender Regime in Modern Thai Politics.” Rian Thai: International Journal of Thai Studies (2024). Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=4744207 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.4744207
  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “แม่และแม่บ้านสมัยใหม่: ผู้หญิงดี ความเป็นไทย และวิทยาศาสตร์ ทศวรรษ 2460–2490.” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 9, 1 (ม.ค.–มิ.ย. 2565): 125–156.
  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “ความเป็นมาทางการเมืองของชื่อพระราชทาน ‘ศรีนครินทรวิโรฒ’ (ปี 2513–2517).” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 40 (ส.ค. 2558–ก.ค. 2559): 77–107.
  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “กว่าจะเป็น ‘ผัวเดียวเมียเดียว’: สังเขปความเป็นมาของกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ในสยาม พ.ศ. 2411–2478.” รัฐศาสตร์สาร 35, 2 (พ.ค.–ส.ค.2557): 1–36.
  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “‘ผัวเดียวเมียเดียวแห่งชาติ’: ครอบครัวกับโครงการรณรงค์ทางวัฒนธรรมสมัยสร้างชาติของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม.” ศิลปวัฒนธรรม (มี.ค. 2557): 80–109.
  • สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “อำแดงเหมือน: จากหน้าเอกสารทางประวัติศาสตร์สู่การให้ความหมาย ‘สิทธิสตรี’.” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2553–2554): 103–125.
  • ปิยะนาถ อังควาณิชกุล และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “ภาพลักษณ์สตรีไทยจากเอกสารชาวตะวันตกในสมัยอยุธยา.” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2552): 59–78.

 บทความแปล

  • ภาวรรณ เรืองศิลป์. “กรมหลวงโยธาเทพ: พระราชธิดาสมเด็จพระนารายณ์กับเล่ห์เพทุบายในราชสำนักอยุธยา.” แปลโดย สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 42 (ส.ค. 2560–ก.ค. 2561): 47–66.

 บรรณาธิการ

  • ถนอม ชาภักดี, ชาติชาย มุกสง, นันทนุช อุดมละมุล และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ (บรรณาธิการ). เปิดโลกสุนทรีย์ในวิถีมนุษยศาสตร์: รวมบทความจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2563.

 ผลงานอื่นๆ

  • สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “จิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถ วัดอัมพวันเจติยาราม: จากวัฒนธรรมอัมพวา สู่รัตนโกสินทร์.” ใน วิมลวรรณ ปีตธวัชชัย (บรรณาธิการ), ชีวิตและงาน อาจารย์ คุณนิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. น. 287–319. กรุงเทพฯ: มูลนิธิคึกฤทธิ์ 80 ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2566.
  • ภาวรรณ เรืองศิลป์, บริพัตร อินปาต๊ะ, นพปฎล ไพบูลกิจทวี และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “เส้นทางสายเจ้าฟ้า” เที่ยวน่านตามรอยราชวงศ์หลวงติ๋น. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564.

รางวัล

  • รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นด้านครอบครัว ระดับดี โดยสมาคมครอบครัวศึกษาแห่งประเทศไทย ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2568.